เข้าชมรายละเอียด THE INDIAN TEA

เข้าชมรายละเอียด THE INDIAN TEA
แฟรนไชส์กาแฟสดและกาแฟชงสำเร็จ ชาอินเดีย กาแฟเปอร์เซีย ราคาเริ่มต้น 6,900 - 399,000 เข้าชมรายละเอียด แฟรนไชส์ THE INDIAN TEA คลิ๊กที่รูปภาพด้านบน ติดต่อคุณมาโนช โทร.084-682-5999 , 092-369-3951 LINE ID : @THEINDIANTEA / หรือเซฟเบอร์ 084-682-5999

ค้นหาทำเลเปิดร้านกาแฟ แสดงผลการค้นหาชัดเจน ตรงประเด็น จากกลุ่มเว็บที่เรานิยมใช้เป็นประจำ

Loading

วันเสาร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง


ข้อเสนอโครงการวิจัย ปี54-58
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่8

1. เรื่อง     วิจัยและพัฒนาสะตอในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสุมาลี  ศรีแก้ว

ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
ศึกษาการให้ผลผลิตและคุณภาพของสะตอสายพันธุ์นอกฤดู
2
การชักนำให้สะตอออกดอกนอกฤดู
3
ศึกษาการจัดโครงสร้างทรงต้นสะตอที่ขยายพันธุ์โดยการติดตาและเพาะเมล็ด
4
การศึกษาออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับสะตอ
5
ศึกษาชนิด ประมาณ และฤดูการระบาดของหนอนเจาะฝักสะตอ

2. เรื่อง     วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสาวจรัสศรี  วงศ์กำแหง

ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในจังหวัดตรัง
2
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในพัทลุง
3
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในยะลา
4
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตกาแฟโรบัสต้าในจังหวัดนราธิวาส (รือเสาะ)

3. เรื่อง     ระบบการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง      (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                       นายสำราญ  สะรุโณ

ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การพัฒนาระบบการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่ายครัวเรือนเกษตรกรต้นแบบจังหวัดพัทลุง
-การพัฒนาการปลูกพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
-การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
-พัฒนาวิถีการดำรงชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรเครือข่าย 
-การจัดกระบวนการเคลื่อนไหวและเรียนรู้ในการพัฒนาการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2
การพัฒนาระบบการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนต้นแบบจังหวัดพัทลุง
-การพัฒนาการปลูกพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
-การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น
-พัฒนาการดำรงชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรเครือข่าย 
-การจัดกระบวนการเคลื่อนไหวและเรียนรู้ในการพัฒนาการปลูกพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
3
ภูมิปัญญาการผลิตพืชและความต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภูมิสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัดพัทลุง
-สำรวจภูมิปัญญาและความต้องการเทคโนโลยีการผลิตพืช
-ทดสอบภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตพืช

4
พืชทางเลือกในระบบการปลูกพืชภาคใต้ตอนล่าง
-การเปรียบเทียบผลผลิตของพันธุ์อ้อยคั้นน้ำ
-ทดสอบการผลิตถั่วพุ่ม



4. เรื่อง       พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นาภาคใต้ตอนล่างเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
หัวหน้าโครงการ                             นายฉลอง  เกิดศรี


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
ศึกษาสภาพการผลิตและการตลาดข้าวโพดหวานที่ผลิตในพื้นที่นาภาคใต้ตอนล่าง
2
ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกร
3
ทดสอบศักยภาพของพันธุ์ข้าวโพดหวานลุกผสมที่เป็นการค้าเมื่อปลูกหลังการทำนา
4
เปรียบเทียบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมขั้นทดลองในพื้นที่นา
5
เปรียบเทียบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่นในพื้นที่นา
6
ทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมดีเด่นแปลงใหญ่ในพื้นที่นา
7
ทดสอบและปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมในสภาพศูนย์วิจัยฯ และในพื้นที่นาเกษตรกร
8
ทดลองผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมในพื้นที่นาเกษตรกร
9
ทดสอบและปรับใช้เทคโนโลยีการจัดการดิน และน้ำสำหรับการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นาในพื้นที่นาเกษตรกรร
10
ทดสอบและปรับใช้เทคโนโลยีการจัดการน้ำ และปุ๋ยสำหรับการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นา
11
ทดสอบและปรับใช้เทคโนโลยีการจัดการน้ำ และวัชพืชสำหรับการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นา
12
ทดสอบและปรับใช้เครื่องจักรกลการเกษตรขนาดเล็กสำหรับเกษตรกรรายย่อยเพื่อการเตรียมดิน และเตรียมแปลงปลูกข้าวโพดหวานในพื้นที่นา
13
ทดสอบและปรับใช้เครื่องจักรกลการเกษตรขนาดเล็กสำหรับเกษตรกรรายย่อยเพื่อลดต้นทุนการผลิตจากการใช้สารกำจัดวัชพืช ในการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นา
14
การปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นาให้เหมาะสมกับสภาพการผลิตของเกษตรกรรายย่อย
15
ทดสอบชุดเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตข้าวโพดหวานในพื้นที่นา
16
การสำรวจและประเมินความเสียหายของโรคและแมลงศัตรูข้าวโพดหวานี่ผลิตในพื้นที่นา
17
การจัดอบรมเกษตรกรผู้สนใจปลูกข้าวโพดหวานในพื้นที่นาภาคใต้ตอนล่าง
18
การจัดทำแปลงสาธิตและชุมชนต้นแบบระบบเกษตรข้าว-ข้าวโพดหวาน
19
จัดระบบกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตข้าวโพดหวานในระดับชุมชนร่วมกับองค์กรส่วนท้องถิ่น
20
จัดทำเอกสารเผยแพร่เทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโพดหวานในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง



5, เรื่อง     การวิจัยและศึกษาลักษณะประจำพันธุ์อินทผลัม
หัวหน้ากิจกรรม                             นายไพศอล  หะยีสาและ


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
ศึกษาชนิดและลักษณะประจำพันธุ์ของอินผลัมในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
2
การรวบรวมพันธุ์อินผลัมสายพันธุ์ต่างๆ
3
การทดสอบศักยภาพการเจริญเติบโต การให้ผลผลิตของอินทผลัมในแปลงปลูกทดสอบ


6. เรื่อง     การวิจัยและพัฒนาเครื่องจักรต้นแบบหีบสกัดน้ำมันปาล์มดิบแยกเปลือกและเมล็ดแบบต่อเนื่อง โดยไม่มีน้ำเสีย (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นายประสพโชค  ตันไทย
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
แบบการวิจัย
-                    ศึกษารายละเอียดและออกแบบกระบวนการหีบสกัดน้ำมันปาล์มดิบ
-                    ออกแบบและสร้างกระบวนการหีบสกัดน้ำมันปาล์มดิบ
-                    ทดสอบและวิเคราะห์หาจุดบกพร่องในการทำงานของกระบวนการหีบสกัดน้ำมันปาล์มดิบ
-                    รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปเขียนรายงาน
2
ขั้นตอนและวิธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล
-                    รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล

7. เรื่อง     การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงที่เหมาะสมกับภาคใต้ตอนล่าง    (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นางฉันทนา  คงนคร
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
ศึกษาการผลิตและวิถีการตลาดถั่วลิสงใน จ.สงขลา พัทลุง
2
การเปรียบเทียบและคัดเลือกพันธุ์
-                    การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์
-                    การเปรียบเทียบในท้องถิ่น
-                    การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร
3
ศึกษาวิธีเขตกรรมที่เหมาะสมสำหรับถั่วลิสง
4
การทดสอบพันธุ์ถั่วลิสง
5
การทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมและจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต

8. เรื่อง     การรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยในเขตภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสุคนธ์  วงศ์ชนะ


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
สำรวจ  เก็บรวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
-                    รวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยในจังหวัดสงขลา
-                    รวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยในจังหวัดยะลา
-                    รวบรวมและอนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยในจังหวัดพัทลุง
2
ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และการให้ผลผลิตของกล้วยในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และการให้ผลผลิตของกล้วยในพื้นที่จังหวัดสงขลา
-                    ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และการให้ผลผลิตของกล้วยในพื้นที่จังหวัดยะลา
-                    ศึกษาลักษณะประจำพันธุ์และการให้ผลผลิตของกล้วยในพื้นที่จังหวัดพัทลุง
3
คัดเลือกและทดสอบพันธุ์กล้วยตัดใบ
-                    คัดเลือกพันธุ์กล้วยตัดใบ
-                    ทดสอบพันธุ์กล้วยตัดใบ

9. เรื่อง     การเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ในเขตภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสุคนธ์  วงศ์ชนะ


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ในเขตภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ใน ศวพ.สงขลา
-                    ศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพริกขี้หนูผลใหญ่ใน แปลงเกษตรกร

10. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกชีคุณภาพในภาคใต้ตอนล่าง  (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นางสาวนันทิการ์  เสนแก้ว
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การวิจัยและพัฒนาการเพิ่มมูลค่าพริกชีในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
-                    รวบรวม ศึกษา ประเมินผลผลิตและคัดเลือกพันธุ์พริกชีในเขตภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพริกชี
-                    ศึกษาอายุการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมของพริกชีเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์
    2
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพริกชีให้มีคุณภาพเพื่อการบริโภคในฤดูฝน
3
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนสพริกโดยใช้จุลินทรีย์และสารไคโตซาน
4
ผลของการสารใช้แคลเซียมและโบรอนต่อผลผลิตแลคุณภาพของพริกชีในดินร่วนปนทราย
5
การใช้ปุ๋ยหมักในการปรับปรุงดินก่อนปลูกพริกชีเพื่อนำไปสู่การปลูกแบบอินทรีย์
6
วิจัยและพัฒนาเครื่องต้นแบบการแปรรูปพริกชี



11. เรื่อง   วิจัยพันธุ์และเทคโนโลยีการผลิตกล้วยหินในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นายฉัตรชัย  กิตติไพศาล
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมกล้วยหินเพื่อการใช้ประโยชน์
-                    การสำรวจ รวบรวม และอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมกล้วยหิน
-                    การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของกล้วยหิน
-                    การคัดสายพันธุ์กล้วยหินที่มีศักยภาพ
-                    การทดสอบสายพันธุ์กล้วยหินในแหล่งปลูกต่างๆ
2
การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตกล้วยหิน
-                    ผลของการไว้หน่อต่อผลผลิตและคุณภาพผลผลิตกล้วยหิน
-                    ผลของการห่อผลต่อผลผลิตและคุณภาพผลผลิตกล้วยหิน
3
การใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าของกล้วยหิน
-                    การศึกษาคุณสมบัติของแป้งและแนวทางการใช้ประโยชน์

12. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มจุกในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (แก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นายชนินทร์  ศิริขันยกุล


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การสำรวจและรวบรวมข้อมูลการผลิตส้มจุกในภาคใต้ตอนล่าง
-                    สำรวจและรวบรวมข้อมูลการผลิตส้มจุกใหญ่ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกส้มจุกให้มีคุณภาพในพื้นที่จังหวัดสงขลา
-                    ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติดินบางประการและการจัดการดินที่มีต่อผลผลิต และคุณภาพของส้มจุกหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มจุกในพื้นภาคใต้ตอนล่าง
-                    การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มจุก
1)            ผลของปุ๋ยชีวภาพไมโครไรซ่าต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของส้มจุกในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2)            ผลของปุ๋ยชีวภาพไมโครไรซ่าต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของส้มจุกในพื้นที่จังหวัดตรัง
-                    การจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตส้มจุก
1)            การเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารของส้มจุกในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2)            อิทธิพลของธาตุไนโตรเจนและสังกะสีต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของส้มจุกในพื้นที่จังหวัดสงขลา
3
การฟื้นฟูสวนและอนุรักษ์พันธุ์ส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาการจัดการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูสวนส้มจุกเสื่อมโทรม พื้นที่จังหวัดสงขลา





13. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (แก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นายชนินทร์  ศิริขันยกุล


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การสำรวจและรวบรวมข้อมูลการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
-                    สำรวจและรวบรวมข้อมูลการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกส้มโอหอมหาดใหญ่ให้มีคุณภาพในพื้นที่จังหวัดสงขลา
-                    ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติดินบางประการและการจัดการดินที่มีต่อผลผลิต และคุณภาพของส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่และทดสอบ
ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
-                    การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่
1)            ผลของปุ๋ยชีวภาพไมโคไรซ่าต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2)            ผลของปุ๋ยชีวภาพไมโคไรซ่าต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดตรัง
-                    การจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตส้มโอหอมหาดใหญ่
1)            การเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงธาตุอาหารของส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
2)            อิทธิพลของธาตุไนโตรเจนและสังกะสีต่อการเจริญเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของส้มโอหอมหาดใหญ่ในพื้นที่จังหวัดสงขลา
3
การฟื้นฟูสวนและอนุรักษ์พันธุ์ส้มโอหอมหาดใหญ่ในภาคใต้ตอนล่าง
-                    ศึกษาการจัดการที่เหมาะสมในการฟื้นฟูสวนส้มโอหอมหาดใหญ่ เสื่อมโทรม พื้นที่จังหวัดสงขลา












14. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและอนุรักษ์พันธุกรรมพืชหัวพื้นเมือง
หัวหน้าโครงการ                             นายจิระ  สุวรรณประเสริฐ
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและอนุรักษ์พันธุกรรมมันพื้นเมือง
-                    เก็บรวบรวมพันธุ์และจำแนกพันธุกรรมด้วยลักษณะสัญฐานวิทยาและเทคนิคทางชีวโมเลกุล
-                    ความแตกต่างของผลผลิตและอายุเก็บเกี่ยวมันขี้หนูเมื่อใช้วัสดุปลูกต่างกัน
-                    การผลิตมันขี้หนูนอกฤดูกาลโดยการใช้ยอดปักชำ
-                    ชนิดและอัตราปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับมันขี้หนุที่ปลูกในชุดดินต่างกัน
-                    ผลของสารชะลอการเจริญเติบโตต่อการให้ผลผลิตและอายุเก็บเกี่ยวมันขี้หนู
-                    วีธีการที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดไส้เดือนฝอย
-                    วิธีการยืดอายุเก็บรักษาผลผลิตมันขี้หนู
2
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและอนุรักษ์พันธุกรรมมันสกุล Dioscorea
-                    การเก็บรวบรวมและศึกษาลักษณะเบื้องต้น

15. เรื่อง   การปรับปรุงพันธุ์และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตถั่วหรั่ง
หัวหน้าโครงการ                             นายจิระ  สุวรรณประเสริฐ
ดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การปรับปรุงพันธุ์อายุสั้น/ปานกลางและต้านทานโรคใบไหม้
-                    การเปรียบเทียบพันธุ์ถั่วหรั่งอายุสั้นในแปลงขนาดใหญ่
-                    การเปรียบเทียบพันธุ์ถัวหรั่งอายุปานกลางในแปลงขนาดใหญ่
-                    การคัดเลือกเปรียบเทียบพันธุ์ถั่วหรั่งชุด 2551
2
การศึกษาข้อมูลจำเพาะของถั่วหรั่ง
-                    การปลูก บันทึกลักษณะ และเก็บรักษาพันธุกรรมถั่วหรั่ง
-                    การเขตกรรมที่เหมาะสมสำหรับถั่วหรั่งพันธุ์ใหม่
-                    การศึกษาขนาดและรูปร่างที่เหมาะสมของแปลงทดลองถั่วหรั่ง
3
การ tag ยีนต้านทานโรคใบไหม้ของถั่วหรั่ง
-                    การสร้างประชากรและการ tag ยีนต้านโรคใบไหม้
4
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการควบคุมโรคใบไหม้ของถั่วหรั่ง
-                    การทดสอบการจัดการธาตุอาหารในการควบคุมโรคใบไหม้ของถั่วหรั่ง
-                    การทดสอบการใช้สารกำจัดศัตรูพืชร่วมกับการใช้จุลินทรีย์ในการควบคุมโรคใบไหม้ของถั่วหรั่ง


16. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการรวบรวมพันธุ์พืชสกุลเตยในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (ฉบับแก้ไข)
หัวหน้าโครงการ                             นางฉันทนา   คงนคร
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
สำรวจ  โรคและแมลงศัตรูพืช ศึกษาถิ่นอาศัย รวบรวม/จำแนกพันธุ์ และศึกษาการใช้ประโยชน์
-                    สำรวจ โรคและแมลงศัตรูพืช ศึกษาถิ่นอาศัยรวบรวม/จำแนกพันธุ์ และศึกษาการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา
-                    สำรวจ โรคและแมลงศัตรูพืช ศึกษาถิ่นอาศัยรวบรวม/จำแนกพันธุ์ และศึกษาการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่จังหวัดสงขลา  ตรัง  พัทลุง สตูล
2
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเตยหนาม
-                    ศึกษาการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของเตยหนามในพื้นที่ดอนและ
พื้นที่พรุ
-                    ศึกษาอิทธิพลของระยะปลูกต่อผลผลิตของเตยหนาม
-                    การตอบสนองต่อชนิดและอัตราปุ๋ยที่มีผลต่อผลผลิตเตยหนาม
3
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเส้นใยเตยหนามให้มีคุณภาพ
-                    ศึกษาอายุใบที่เหมาะสมเพื่อการแปรรูปของเตยหนาม
-                    การตอบสนองของวิธีการเก็บรักษาและคุณภาพของเส้นใยเตยหนามปลูกและเตยหนามธรรมชาติ
-                    ศึกษาโรคและแมลงในโรงเก็บเส้นใยเตยหนาม


17. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสับปะรดบริโภคผลสดเพื่อเพิ่มผลผลิต  คุณภาพผลผลิต และแก้ปัญหาโรคเหี่ยว
หัวหน้าโครงการ                             นายศุกร์  เก็บไว้


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การตร   การวิจัยและพัฒนาระยะปลูก
2
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการใช้สารบังคับดอกแบบฉีดพ่น
3
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสับปะรดเนื้อแก้ว
4
การวิจัยและพัฒนาการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนการผลิต
5
การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการโรคเหี่ยว




18. เรื่อง   วิจัยและพัฒนาทุเรียนเทศในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นายอำนวย  ไชยสุวรรณ์
ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การสำรวจ รวบรวม และศึกษาพันธ์ทุเรียนเทศในแปลงรวบรวมพันธุ์ และสภาพถิ่นเดิม
-                    สำรวจ รวบรวม และศึกษาลักษณะสายพันธุ์ของทุเรียนเทศ ในแปลงรวบรวมพันธุ์ของ ศวพ.ตรัง และสภาพถิ่นเดิมของพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
2
วิจัยและพัฒนาการใช้ทุเรียนเทศในการควบคุมและป้องกันกำจัดศัตรูพืช
-                    การศึกษาสารสำคัญในใบและเมล็ดของทุเรียนเทศที่มีฤทธิ์ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช

19. เรื่อง   วิจัยและพัฒนาการเพิ่มศักยภาพการผลิตตะไคร้ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสาวจรัสศรี  วงศ์กำแหง

งบประมาณของโครงการวิจัย          งบประมาณปี 2554

ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณภาพ และผลผลิตตะไคร้ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (สงขลา พัทลุง ตรัง ปัตตานี)
-                    การจัดทำแผนที่แหล่งปลูกตะไคร้ การประเมินความเสียหายและการระบาดของศัตรูตะไคร้ที่สำคัญ (สงขลา พัทลุง ตรัง ปัตตานี)
-                    การศึกษาและรวบรวมพันธุ์ตะไคร้ในแหล่งปลูกที่สำคัญ
        (สงขลา พัทลุง ตรัง ปัตตานี นราธิวาส)
-                    การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตตะไคร้เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพ
1)       การศึกษาระยะปลูกตะไคร้ที่เหมาะสม เพื่อเพิ่ม 
                           ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพในจังหวัดสงขลา ตรัง
                           พัทลุง ปัตตานี และรือเสาะ
2)       การศึกษาชนิดและอัตราการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม เพื่อเพิ่ม 
                           ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพในจังหวัดสงขลา ตรัง
                           พัทลุง ปัตตานี และรือเสาะ
-                    การวิจัยและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตตะไคร้เพื่อลดความเสียหายจากศัตรูพืชที่สำคัญและอันตรายจากสารพิษตกค้าง
1)            ศึกษาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดหนอนกอตะไคร้โดยวิธีเขตกรรมในจังหวัดสงขลา ตรัง และปัตตานี
2)            ศึกษาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดหนอนกอตะไคร้โดยการใช้สารเคมีและสารชีวภาพในจังหวัดสงขลา ตรัง และปัตตานี
-                    ศึกษาปริมาณสาระสำคัญและน้ำมันหอมระเหยในตะไคร้สายพันธุ์ต่างๆ
1)            การศึกษาอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมของพันธุ์ตะไคร้ต่อสารสำคัญและน้ำมันหอมระเหย
2)            การศึกษาเปรียบเทียบสายพันธุ์ตะไคร้ที่ให้สารสำคัญและน้ำมันหอมระเหย





20. เรื่อง   การวิจัยและพัฒนาพืชไร่อาหารสัตว์เป็นทางเลือกใหม่ในระบบเกษตร
หัวหน้าโครงการ                             นายจิระ  สุวรรณประเสริฐ


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การวิจัยและพัฒนาการผลิตและการใช้ประโยชน์มันสำปะหลังเพื่อเลี้ยงสัตว์ในเขตภาคใต้ตอนล่าง
-                    เปรียบเทียบการให้ผลผลิตหัวของพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อการเลี้ยงสัตว์
-                    เปรียบเทียบให้ผลผลิตใบของพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อการเลี้ยงสัตว์
-                    การคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่มีลักษณะพิเศษเพื่อการใช้ประโยชน์ในเขตภาคใต้ตอนล่าง
-                    การเขตกรรมที่เหมาะสมสำหรับการปลูกเป็นพืชแซมปาล์มน้ำมัน
-                    ระดับปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลังในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
-                    ประสิทธิภาพของแหล่งโปรตีนจากใบมันสำปะหลังและการยอมรับของเกษตรกร
2
การวิจัยและพัฒนาการผลิตและการใช้อ้อยอาหารสัตว์
-                    การเปรียบเทียบพันธุ์อ้อยอาหารสัตว์และศึกษาการยอมรับของเกษตรกร
-                    ระดับปัจจัยการผลิตและช่วงเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมของอ้อยอาหารสัตว์
-                    ระยะปลูกที่เหมาะสมสำหรับอ้อยอาหารสัตว์
-                    ระยะห่างจากพืชประธาน
-                    ความสัมพันธ์ระหว่างอายุเก็บเกี่ยวผลผลิต  และคุณค่าทางโภชนาศาสตร์ของอ้อยอาหารสัตว์โคลน Phil 58-260xk84-200
3
การวิจัยและพัฒนาการผลิตปออาหารสัตว์
-                    การเปรียบเทียบผลผลิตและคุณค่าทางอาหารของชนิด/พันธุ์ปอ
-                    วิธีการเขตกรรมที่เหมาะสมกับปอชนิดต่างๆในภาคใต้ตอนล่าง
-                    การยอมรับของเกษตรกรและสร้างเครือข่ายผู้ใช้และการผลิตเมล็ดพันธุ์
4
การวิจัยและพัฒนาข้าวโพด/ข้าวฟ่างตัดต้นสด
-                    การทดสอบและขยายผลการผลิตและใช้ประโยชน์ข้าวโพด/ข้าวฟ่างตัดต้นสด



21. เรื่อง   การวิเคราะห์ความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์อีโคไล (Escherichia coli) และซาลโมเนลล่า
               (Salmonella spp.) ในกระบวนการผลิตพืชผัก GAP
หัวหน้าโครงการ                             นางสาวเขมิกา  โขมพัตร


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
-                    สุ่มเก็บตัวอย่างจากแปลง GAP ในจังหวัดที่กำหนด นำมาวิเคราะห์เชื้อจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการ
-                    ประมวลผลปัจจัยที่เกี่ยวข้องในระบบการผลิตเพื่อวิเคราะห์จุดวิกฤติซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนจุลินทรีย์
-                    สรุปและรายงานผลการวิจัย


22. เรื่อง   การศึกษาและตรวจสอบสารพิษตกค้างทางการเกษตรและสารพิษจากจุลินทรีย์ ในพืชผักผลไม้และสินค้านำเข้า ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
หัวหน้าโครงการ                             นางสาวสาวิตรี  เขมวงศ์


ลำดับ
กิจกรรม/การทดลอง
1
การตร   การตรวจสอบสารสารพิษตกค้างทางการเกษตร ในพืชผักผลไม้และสินค้านำเข้า ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
2
การศึกษาการปนเปื้อนของสารอะฟลาทอกซินในสินค้าเกษตรนำเข้า

--------------------------------------

Cafe Britt - Premium Gourmet Coffee